สถิติการค้าและการลงทุน

สถิติเศรษฐกิจสหรัฐฯ

(ข้อมูลล่าสุด ต.ค. 2563)

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ขยายตัวร้อยละ 31.4 (ไตรมาส 2), ขยายตัวร้อยละ 33.3 (ประมาณการไตรมาส 3)
ดัชนีราคาผู้บริโภค ขยายตัวร้อยละ 0.0 (เทียบกับเดือนก่อนหน้า)
รายจ่ายเพื่อการบริโภค ขยายตัวร้อยละ 40.6
อัตราการว่างงาน ร้อยละ 6.9
รายได้ส่วนบุคคล หดตัวร้อยละ 0.7
การลงทุนภาคธุรกิจภายในประเทศ ขยายตัวร้อยละ 84.9 (ไตรมาสที่ 3)

 


สถิติการค้าสหรัฐฯ

(ข้อมูล ม.ค. – ต.ค. 2563)

มูลค่าการค้า 3,080,237.72   ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการนำเข้า 1,908,362.40   ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการส่งออก 1,171,875.32   ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าดุลการค้า -736,487.08    ล้านดอลลาร์สหรัฐ

 

5 อันดับประเทศคู่ค้าสหรัฐฯ
นำเข้า ส่งออก
1 จีน 1 แคนาดา
2 เม็กซิโก 2 เม็กซิโก
3 แคนาดา 3 จีน
4 ญี่ปุ่น 4 ญ๊่ปุ่น
5 เยอรมัน 5 สหราชอาณาจักร

 

 

5 อันดับสินค้านำเข้า-ส่งออกสหรัฐฯ
รายการสินค้า มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
นำเข้า
1 ยานพาหนะ 111,002.92
2 อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล 83,677.17
3 อุปกรณ์เครือข่ายการสื่อสาร 72,183.48
4 ยาและเวชภัณฑ์ 68,723.61
5 สินค้าส่งออกที่นำกลับเข้ามาเพื่อซ่อมแซม 63,992.95
ส่งออก
1 อากาศยาน ชิ้นส่วน และเครื่องยนต์ 60,334.14
2 น้ำมันปิโตรเลียมและน้ำมันที่ได้จากแร่ bituminous นอกเหนือจากน้ำมันดิบ 50,850.23
3 น้ำมันปิโตรเลียมและน้ำมันที่ได้จากแร่ bituminous และน้ำมันดิบ 42,237.82
4 แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 36,513.83
5 ยานพาหนะ 36,230.97

 

การค้าไทย-สหรัฐฯ

  • สหรัฐฯ นำเข้าจากไทยเป็นอันดับที่ 16 – มูลค่าการนำเข้า 30,961.76 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

  • สหรัฐฯ ส่งออกไปไทยเป็นอันดับที่ 24 – มูลค่าการส่งออก 9,215.26 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

  • สหรัฐฯ มีมูลค่าการค้ากับไทยเป็นอันดับที่ 20

5 อันดับสินค้านำเข้า-ส่งออก ไทย-สหรัฐฯ
รายการสินค้า มูลค่า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
นำเข้าจากไทย
1 อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล 5,090.92
2 อุปกรณ์เครือข่ายการสื่อสาร 2,531.21
3 ยางรถยนต์อัดอากาศ 2,266.69
4 ไดโอท, ทรานซิสเตอร์ 1,293.69
5 เครื่องพิมพ์ 739.96
ส่งออกไปไทย
1 น้ำมันปิโตรเลียมและน้ำมันที่ได้จากแร่ bituminous และน้ำมันดิบ 1,013.99
2 แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 635.03
3 ชิ้นส่วนแทรคเตอร์ 358.95
4 ไดโอท, ทรานซิสเตอร์ 340.04
5 อุปกรณ์เครือข่ายการสื่อสาร 337.87

 


 

 

สถิติการลงทุนในสหรัฐฯ

สถิติการลงทุนในสหรัฐฯ จากต่างประเทศ (ปี 2561)

มูลค่าการลงทุน 4,458,362 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การจ้างงาน 7,808,100 งาน
มูลค่าการทำค้นคว้าและวิจัย 66,900 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าสนับสนุนการส่งออก 395,300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2562)

 

5 ประเทศที่มีมูลค่าการลงทุนสูงสุดในสหรัฐฯ (2562)
ประเทศ มูลค่าการลงทุน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) สัดส่วน
1 ญี่ปุ่น 644,727 ร้อยละ 14.5
2 แคนาดา 580,752 ร้อยละ 13.0
3 เยอรมัน 521,979 ร้อยละ 11.7
4 สหราชอาณาจักร 446,179 ร้อยละ 10.0
5 ไอร์แลนด์ 343,538 ร้อยละ 7.7

 

5 ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวของมูลค่าการลงทุนสูงสุดในสหรัฐฯ (2562)
ประเทศ มูลค่าการลงทุน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) อัตราการขยายตัว (เทียบปี 2557-2562)
1 คูเวต 1,820 ร้อยละ 41.8
2 ไทย 1,684 ร้อยละ 26.7
3 ชิลี 3,431 ร้อยละ 21.7
4 ไอร์แลนด์ 343,538 ร้อยละ 20.3
5 บราซิล 45,273 ร้อยละ 19.6

 

5 อุตสาหกรรมที่มีการลงทุนจากต่างประเทศมากที่สุดในสหรัฐฯ (วัดจากการจ้างงาน)
1 การผลิต
2 การค้าปลีก
3 การค้าส่ง
4 บริการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5 การเงินและประกันภัย

 

 

สถิติการลงทุนของสหรัฐฯ ในต่างประเทศ (ปี 2562)

  • มูลค่าการลงทุน – 5,960,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

  • มูลค่าการลงทุนในไทย – 17,738 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

 

5 ประเทศที่สหรัฐฯ ลงทุนสูงสุด (U.S. multinational enterprises – MNEs)
ประเทศ มูลค่าการลงทุน (ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
1 เนเธอร์แลนด์ 860,500
2 สหราชอาณาจักร 851,400
3 ลักเซมเบิร์ก 766,100
4 แคนาดา 402,300
5 ไอร์แลนด์ 354,900

** อุตสาหกรรมที่มีการลงทุนสูงสุดได้แก่ (1) อุตสาหกรรมการผลิต – ร้อยละ 51.9 และ (2) อุตสาหกรรมการเงินและประกันภัย – ร้อยละ 12.8

 

การลงทุนของไทยในสหรัฐฯ

สถิติการลงทุนของไทยในสหรัฐฯ (ปี 2562)
มูลค่าการลงทุน 1,684 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การจ้างงาน 3,500 งาน
มูลค่าการทำค้นคว้าและวิจัย 15,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าสนับสนุนการส่งออก 101.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

 

6 อุตสาหกรรมที่ไทยลงทุนสูงสุดในสหรัฐฯ
1 พลาสติก
2 สารเคมี
3 อาหารและเครื่องดื่ม
4 ส่วนประกอบรถยนต์
5 ซอฟท์แวร์และบริการด้าน IT
6 อุปกรณ์ก่อสร้าง

 

 

 

แหล่งข้อมูล:

 

ปรับปรุงเมื่อ ธ.ค. 2563